Cambodia's temples fell to looters
โพสท์โดย อ้ายเติ่งNew research has uncovered the criminal system that enabled a ring of army officials to smuggle tens of thousands of antiquities out of Cambodia during the country's years of unrest between 1970 and 1998.
these days, many of Cambodia's ancient Angkorian temples are denuded. Pedestals supporting the feet of statues whose bodies have been cleaved off, and walls are pockmarked with holes where reliefs once stood.
But while the temples have been standing for hundreds of years, much of that looting took place over the course of just three decades thanks to a highly organized criminal ring involving army officials on both sides of the border, research published this month in the British Journal of Criminology has found.
An unprecedented case study of an antiquities trafficking network, the paper by criminologist Simon Mackenzie and cultural heritage lawyer Tess Davis – both of the University of Glasgow – details the ordered system that allowed tens of thousands of antiquities to leave the country during the years of unrest between 1970 and 1998.
In Banteay Chhmar, "local villagers were 'invited' (in the sense of 'instructed') to loot the temple at night by these various armed factions, who effectively functioned as gangmasters for this looting enterprise," note the authors.
Paid the equivalent of USD 12 a day, the workers "faced violent intimidation and possibly death if they refused."
The setup, as recounted by former looters, was replicated at six major archaeological sites across the country where the researchers carried out interviews.
การทำลายโบราณเพื่อขโมยโบราณวัตถุต่างๆนั้น เท่ากับเป็นการสูญเสียโอกาสที่จะได้เรียนรู้กำเนิดและความต่อเนื่องทางประวัติวัฒนธรรม
รัฐบาลกัมพูชาได้ ดำเนินการอย่างเข้มงวดเพื่อป้องกันมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ แต่ถึงขนาดนั้น การลักขโมย การทำลายที่มีอยู่ทั่วไป ในแหล่งขุดหา ก็ยังดำเนินต่อไปเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลาบสิบปีมาแล้ว ที่พวกลักขโมยเลือกของที่ทำด้วยโลหะ และชิ้นส่วนของหินแกะสลักของยุคอาณาจักรเมืองพระนครและยุคหลังอาณาจักรเมืองพระนคร ระยะหลังนี้ มีการลักขโมยในสุสานยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งมีอยู่ทั่วประเทศอันเป็นจุดเริ่มของการทำลายอีกแบบใหม่แบบหนี่ง
การค้นหาวัตถุโบราณเขมรถูกกระตุ้นโดยความต้องการของท้องถิ่น พอ ๆ กับความต้องการของตลาดสากล การลักลอบค้าขายวัตถุทุกชนิด ไม่ว่าจะทำด้วยอะไร เป็นไปมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 ๑๙ ทำให้ประเทศกัมพูชาสูญเสียมรดกทางวัฒนธรรมไปเป็นอย่างมาก รูปปั้น ชิ้นส่วนจากสถาปัตยกรรม เอกสารโบราณทางศาสนา วัตถุโบราณที่เป็นโลหะสัมฤทธิ์ เหล็ก ที่ทำจากไม้ และเครื่องปั้นดินเผา ยังคงถูกลักลอบส่งออกอย่างรวดเร็วน่าวิตก
ทรัพย์สมบัติทางวัฒนธรรมของประเทศกัมพูชาจัดว่ามีความสำคัญพิเศษสำหรับประชาชน ความภาคภูมิใจที่ชาวกัมพูชามีในมรดกของเขาจะเห็นได้จากสัญลักษณ์ที่เลือก นครวัด มาประดับบนธงชาติ นอกเหนือจากนั้น สถานที่สำคัญ เช่น อุทยานประวัติศาสตร์นครวัด เป็นที่นิยมชมชอบของนักท่องเที่ยวทั่วโลก นำมาซึ่งรายได้ที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชา ดังนั้น ประเทศนานาชาติจึงให้ความสำคัญและพิจารณาอันตรายที่คุกคามมรดกทางวัฒนธรรมของกัมพูชาอย่างจริงจัง