ทวารวดี - Dvaravati era | THAILAND 🇹🇭
โพสท์โดย อ้ายเติ่งการแต่งกายสมัยทวารวดี ภาคอีสาน (โฆษณารีเจนซี่ 2021)
ทวารวดีภาคอีสาน "The Dvaravati culture in Northeastern Thailand" from the Commercial of REGENCY: Thai Brandy | THAILAND 🇹🇭
©Photo credit: Art Pawat Jundarak.
Blessed by its geography, the northeastern region of Thailand, Isan, is home to an ancient heritage, which traces back 1,000 to 5,000 years...
Dvaravati - a group of small Buddhist states or principalities in what is now Thailand from the 6th to the 11th centuries, heavily influenced by India, little is known of them apart from the beautiful art and coins that they left behind.
The language of the Dvaravati inscriptions, which are left in the remaining buildings, is Sanskrit and Pali. The Dvaravati Culture was following a Buddhist doctrine, although some Hindu influences were included. Buddhism came, of course, from India to Southeast Asia, and all the arts and architecture of the time had Indian roots. In the Dvaravati towns were also coins minted, a technique which also came from India to here. The concepts of the state and the political organization were certainly also of Indian origin; there is little doubt that we have it to do here with another Oriental despotism.
The Dvaravati Culture played an early key role in the introduction of Buddhism and Buddhist arts into Southeast Asia. Dvaravati art has its very own style on one hand and is clearly distinguishable from Khmer art or that of the Srivijaya empire on Sumatra; on the other hand, it is close to the art and culture of contemporary Thailand as garudas, nagas, Buddhas, and other religious items were displayed in the temples as they are still today.
🏵️🧡🏵️🧡🏵️🧡🏵️🧡🏵️
“ทวารวดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” หรือ “ทวารวดีภาคอีสาน” โดยทั่วไปกำลังหมายถึงศิลปะและวัฒนธรรม กลุ่มหนึ่งที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีอายุระหว่างราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ (ประมาณ พ.ศ. ๑๑๐๐ - ๑๗๐๐) หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย
มีรูปแบบและคติความ เชื่อละม้ายคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทวารวดีภาคกลาง และมีความ แตกต่างไปจากวัฒนธรรมเขมรที่แผ่ขยายอำนาจทางการเมืองและ ทางวัฒนธรรมอยู่ในภาคอีสานสมัยนั้น
ทวารวดีภาคอีสานมักไม่มีนัยที่เกี่ยวข้องกับอำนาจทางการเมืองการปกครองของทวารวดีภาคกลาง ชุมชนทวารวดีภาคอีสานก็มีเมืองใหญ่อันเป็นศูนย์กลางของตนเช่นกัน เพียงแต่ว่า มีรูปแบบและคติที่คล้ายกับภาคกลางเท่านั้น ซึ่งมักเป็นหัวเมืองที่ปกครองกันเอง และยังแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกันอย่างค่อยเป็นค่อยไป จนเมื่อการแพร่อำนาจจากพระเจ้าสุริยวรมันที่๑ แห่งอาณาจักรเจนละ วัฒนธรรมทวารวดีอีสานจึงถูกกลืนเข้ากับวัฒนธรรมขอมในยุคต่อมา
ทวารวดีที่อยูในภาคอีสานมีลักษณะพื้นเมืองหลายประการที่ตางไปจากภาคกลาง ของที่นิยมในภาคกลาง เชน ธรรมจักร กวางหมอบ หรือพระพุทธรูปประทับเหนือพนัสบดีจะไมนิยมในภาคอีสาน แตในทางตรงกันขาม ภาคอีสานกลับนิยมอะไรบางอยางที่ภาคกลางไมนิยม ที่เห็นอยางชัดเจนและเราอาจกลาวไดวาเปนเอกลักษณของ ทวารวดีอีสานก็คือ “การทําหินตั้ง” หรือ “ใบเสมา” อยานึกถึงใบเสมาที่ปกรอบโบสถในปจจุบันที่มีขนาดเล็ก “หินตั้ง” หรือ “ใบเสมา” ในภาคอีสานใหญสุดที่เห็นคือสูงประมาณ ๓ เมตรกวา และพบเยอะมาก บางแหงเปน รูปเคารพในตัวของเขาเอง
เรื่องประเพณีการปลงศพ ประเพณีการปลงศพที่เขามาพรอมกับวัฒนธรรมจากอินเดียที่ เขามาพรอมกับพุทธศาสนาก็คือ “การเผา” ที่เราทําตามพระพุทธเจาที่ทรงระบุไวในมหาปรินิพพานสูตรวาใหเผา และบรรจุอยูในสถูปแตประเพณีการปลงศพดั้งเดิมของพื้นที่ประเทศไทยทั้งภาคกลางและภาคอีสานก็คือ “การฝง” ฉะนั้นในสมัยกอนประวัติศาสตรพบโครงกระดูกเยอะแยะไปหมด หรือถาไมฝงก็คืออาจจะเอาหลังจากที่ฝงไปแลว ก็คืออาจจะมีการขุดแลวเอาเนื้อหนังมังสาที่เปอยยุยไปแลวไปฝงอยูในภาชนะอีกทีหนึ่ง ลักษณะอยางนี้เรียกวา “การฝงกลบครั้งที่ ๒”
ฉะนั้นประเพณีการปลงศพฝงเหยียดยาวอยูในหลุมหรือฝงอยูในไหโดยไมมีการเผาเปน ประเพณีดั้งเดิม แตพอพุทธศาสนาเขามาเปลี่ยนมาเปนการเผา แตภาคอีสานในชวงที่ทวารวดีแผเขาไปถึง วัฒนธรรมพุทธศาสนาแผเขาไปถึงประเพณีการปลงศพที่สืบเนื่องมาตั้งแตกอนประวัติศาสตรไมหายไปเขายังคงทําอยู
ดวยเหตุนี้เราจึงอาจกลาวไดวาความเกี่ยวของสัมพันธระหวางทวารวดีที่อยูภาคกลางกับทวารวดีที่อยูในภาค อีสานคงเกี่ยวของกันทางวัฒนธรรมมากกวาอํานาจทางการเมืองที่ใชทหารไปรุกราน คือเปนเรื่องของการสมัครใจ ที่จะรับวัฒนธรรมความเชื่อจากภาคกลางไปปรุงแตงใหกลายเปนตัวของตัวเอง