หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
หน้ารวม Pic Post Pic Post ของฉัน สุดยอด Pic Post สุดยอดนักโพสท์คลังรูปค้นหา Pic PostPost รูป
ดูรายการโปรด เพิ่มเป็นรายการโปรด

🇹🇭 THAILAND | "Praleng Dance" Thai Traditional Dance

โพสท์โดย อ้ายเติ่ง

"Praleng Dance" is the opening dance in the theater (called "Lakorn Nai (Thai royal dance drama)" = play performed by female only) ...That has been in existence since ancient times....Nowadays it is shown in few performances....But are still preserved by the Fine Arts Department. 🇹🇭

 

รำประเลง…เป็นการรำเบิกโรงละครใน …อันมีมาแต่โบราณ..ปัจจุบันนำเอามาแสดงน้อย..แต่ยังคงถูกรักษาไว้จากกรมศิลปากร (ละครในใช้ผู้หญิงแสดงทั้งหมด)

(อ่านภาษาไทย..ใต้ภาษาอังกฤษนะคะ) 👇

🇹🇭

Background: Praleng dance is the name of the opening dance of a Lakorn Nai (Thai royal dance drama) = play performed by all females) dating back to Ayutthaya.

 

I understand that it matches the performance called "Pruwarong" in Sanskrit dramas. But this is not definitively confirmed. Played as a pair of 2 dancers, the dancers are dressed the same as Thai theater masters, dressing in standing amulets but wore the head of a bald deity. Hold the peacock's tail in each hand no chorus. There is only the front song accompaniment to the dance rhythm. They are arranged in the following order: Klom music, Chamnan music, and Chord music.

 

🇹🇭 Naphat song separated as follows

 

1. Klom music means an important deity traveling to the ceremony area Klom music is used to accompany the performances of important gods such as Narai, Indra, Wisukarma, Sangthong.

 

2. Chamnan music means angels blessed with blessings to the audience at the performance venue. Klom music (2nd time) means angels showing joy.

 

3. Chord music means those deities returned to Divine Viman.

 

🇹🇭 The dance posture that appears Directly inherited from the royal drama of King Rama II passed through the Suan Kulab Palace theater troupe, of His Royal Highness Prince Krom Luang Nakhon Ratchasima until the Bunditpatanasilpa Institute and the Fine Arts Department.

 

🇹🇭 The main purpose of performing the Praleng dance, in addition to being the tradition of the preliminary performance of the royal court. There is also a belief that it is a performance that creates good luck and removes obstacles for the performance of that time success in all respects.

🇹🇭 Currently, this show. It is maintained in the educational institutions of the Bunditpatanasilpa Institute and the Fine Arts Department. But the chances that it will be published are very few because of the current show. Not popular with prelude performances before big events but prefers to show only one big story.

 

🇹🇭 Praleng dance: The prelude is the assumption that the angels come down to dance in order to create good fortune and ward off harassment to prevent misfortune. The origin of the Praleng dance was originally before the performance There will be broom-bearers coming out to sweep. Clean the theater first who came out to sweep these usually an artist. When sweeping, he would act like a dramatic dance. Teachers of Thai dancing arts therefore thought to invent it as a dance posture. and have the performer hold a peacock's tail instead of a broom came out to dance in a sense of harassment.

 

▪️ ความเป็นมา: รำประเลง เป็นชื่อระบำเบิกโรงของละครใน มีมาแต่โบราณตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา เข้าใจว่าตรงกับการแสดงที่เรียกว่า “ปรุวรงค” ของละครสันสกฤต แต่ไม่เป็นที่ยืนยันแน่ชัด ประเลง เป็นระบำคู่ ๒ คน ผู้รำแต่งตัวเช่นเดียวกันกับนายโรงละครไทย คือ การแต่งกายยืนเครื่องพระ แต่สวมหัวเทวดาศีรษะโล้น มือถือกำหางนกยูงข้างละมือ ไม่มีบทขับร้อง มีแต่เพลงหน้าพาทย์ ประกอบจังหวะการรำ เรียงลำดับดังนี้ คือ เพลงกลม เพลงชำนาญ และเพลงเชิด

 

▪️ เพลงหน้าพาทย์ แยกเป็นดังนี้

๑. เพลงกลม หมายถึง เทวดาสำคัญเดินทางมายังมณฑลพิธี เพลงกลมใช้ประกอบการแสดงของเทพเจ้าสำคัญ เช่น พระนารายณ์ พระอินทร์ พระวิสุกรรม เงาะ ในเรื่องสังข์ทอง ซึ่งถือว่าเป็นรูปกายสิทธิ์

๒. เพลงชำนาญ หมายถึง เทวดาประสาทพรชัยมงคล ให้กับผู้ชม สถานที่แสดง เพลงกลม (ครั้งที่ ๒) หมายถึง เทวดาแสดงความรื่นเริงยินดี

๓. เพลงเชิด หมายถึง เทวดาเหล่านั้นเสด็จกลับสู่ทิพยวิมาน

 

▪️ ท่ารำที่ปรากฏนั้นสืบทอดมาโดยตรงจากละครหลวงของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ผ่านมายังคณะละครวังสวนกุหลาบของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา จนถึง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และกรมศิลปากร

 

▪️ จุดประสงค์สำคัญในการแสดงรำประเลง นอกจากจะเป็นจารีตประเพณีการแสดงเบิกโรงรูปแบบราชสำนักแล้ว ยังมีความเชื่อว่าเป็นการแสดงที่ก่อให้เกิดสวัสดิมงคล ขจัดอุปสรรค ให้การแสดงในคราวนั้นๆ ประสบผลสำเร็จทุกประการ

▪️ ปัจจุบันการแสดงชุดนี้ มีการรักษาไว้ในสถาบันการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และกรมศิลปากร แต่โอกาสที่นำออกแสดงเผยแพร่มีน้อยมาก เนื่องจากการแสดงในปัจจุบัน ไม่นิยมการแสดงเบิกโรงก่อนการแสดงเรื่องใหญ่ๆ แต่นิยมแสดงเรื่องใหญ่เรื่องเดียว

Credit: https://www.facebook.com/ThaiCultureToTheWorld/posts/pfbid0niR2bzxWzh7QzLFnAxtMQCU4cLxxNe1BBKREt1xjbagzuGAsggrT84EdnqDcwHVFl
แชร์บน Facebook แชร์
Tags ที่เกี่ยวข้อง : Praleng Dance, Thailand, Culture, Thai Culture To The World, Amazing Thailand, Unseen Thailand, Thai Culture, Thai Heritage, World Heritage, Thai Art, Arts, Thai Dance, Thai music, Thai Song, Dance, UNESCO, รำไทย, นาฏศิลป์ไทย, รำประเลง, รำเบิกโรงละคร, ละครใน
มีผู้เข้าชมแล้ว 971 ครั้ง
โพสท์โดย: อ้ายเติ่ง , 2Y
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ "VOTE" และ "SHARE"
🇹🇭 THAILAND | "Praleng Dance" Thai Traditional Dance
5 VOTES (5/5 จาก 1 คน)
 
Voted By: อ้ายเติ่ง
หากคุณเป็นเจ้าของนิตยสาร/โมเดลลิ่ง เอเจนซี่ ต้องการโปรโมท สามารถส่ง e-mail แจ้งทีมงานให้ตั้งค่า username ของคุณเป็น Official User ได้ที่ info@postjung.com โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม

Pic Post อื่นๆ ของ อ้ายเติ่ง

Thai Wedding Dress: Thai National Costume | THAILAND 🇹🇭 Thai Lanna dress in fantasy style | THAILAND 🇹🇭 ล้านนาอารยะ, Lanna traditional costume | THAILAND 🇹🇭 Thailand 🇹🇭 | Sokan ceremony, พระราชพิธีโสกันต์ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ดู Pic Post ทั้งหมดของ อ้ายเติ่ง